“โฟกัส” ที่แม่นยำเป็นคุณสมบัติแรกที่ลำโพงดีๆ ต้องมี ต่อจากนั้นก็เป็นคุณสมบัติข้อที่สองที่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าโฟกัส นั่นคือ “ไดนามิกเร้นจ์” ส่วนคุณสมบัติทางด้าน “ความถี่ตอบสนอง” จะตามมาเป็นลำดับที่สาม ซึ่งโดยส่วนตัวของผมเองแล้ว เหตุผลที่ผมให้ความสำคัญของความถี่ตอบสนองของลำโพงมาเป็นอันดับสามก็เพราะว่าผมมองว่า ถ้าเราเอาคุณสมบัติทางด้านความสามารถในการตอบสนองความถี่เสียงมาเป็นความสำคัญอันดับแรกไม่น่าถูกต้อง เพราะจะทำให้ลำโพงขนาดเล็กทุกคู่ตกโผ “ลำโพงดี” ไปหมด ซึ่งจากข้อเท็จจริงที่พบเจอกันทั่วไป เราพบว่า ลำโพงขนาดใหญ่ที่มีความสามารถตอบสนองความถี่ได้กว้างมากตั้งแต่ทุ้มไปจนถึแหลมสุดเกินหูมนุษย์ได้ยิน หลายๆ คู่ที่ให้เสียงแย่มากก็มี
รองรับลำโพงตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง
ได้รับคำชมจากสื่อดังๆ ในวงการมากมาย ทั้งสื่อของอังกฤษและอเมริกา
กระเบื้องยางลายไม้ วัสดุปูพื้นบ้านมาแรงที่มีข้อดีมากกว่าที่คิด!
ขอโทษนะครับ เห็นภาพนี้แล้ว รู้สึกสะท้อนย้อนคิด…
หลายๆ จุดให้เหมาะสมกับขนาดสัณฐานของ
ขาตั้งลำโพงมีด้วยกันหลากหลายประเภท ขึ้นอยู่กับความต้องการในการใช้งาน และพื้นที่ในการติดตั้ง โดยสามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้
ออกมาได้สบายๆ ลำโพงวางขาตั้งรุ่นใหม่ ไม่ต้องเร่งวอลลุ่มเยอะก็ได้เสียงออกมาเต็มห้องรับแขกและยังเผื่อแผ่ไปถึงห้องครัวได้ด้วย ตัว
! ซึ่งในทางเทคนิคก็น่าจะเป็นผลมาจากความสามารถในการถ่ายทอด
แสดงศักยภาพออกมาได้เต็มที่ในทุกคุณสมบัติ ทำให้ลำโพงสามารถแสดงความแตกต่างของเสียงออกมาได้ชัดมากเมื่อผมทดลองเซ็ตอัพตำแหน่งของ
จะสัมผัสได้ถึงความสดสมจริงของเสียงที่ทำให้รู้สึกเหมือนเข้าไปนั่งอยู่ในสตูดิโอตอนที่เพลงนั้นกำลังถูกบันทึก.
โดยธรรมชาติแล้ว ลำโพงที่มีขนาดเล็กก็จะมีความสามารถในการรองรับกำลังขับจากแอมป์ได้ “ต่ำกว่า” ลำโพงที่มีขนาดใหญ่ เมื่อต้องเร่งวอลลุ่มจากแอมป์เพื่อ “อัด” สัญญาณเข้าไปกระตุ้นให้ลำโพงเปล่งเสียงให้ดังมากขึ้นจนเต็มห้อง ลำโพงเล็กๆ จึงมักจะถูก thrust ให้เข้าไปอยู่ในโซนที่เป็นข้อจำกัดทางธรรมชาติของมัน และถ้าถูกดันจนถึงจุดสูงสุดที่มันรองรับได้ ผลเสียก็จะปรากฏออกมากับน้ำเสียง ซึ่งโดยมากก็จะเป็นไปในลักษณะของเสียงที่จัดจ้าน พุ่งแหลม เฟี๊ยวฟ๊าว และสูญเสียการควบคุม ซึ่งฟังแล้วจะรับรู้ได้ถึงอาการที่ทำให้รู้สึกเครียด ล้า ไม่น่าฟัง
เพราะชอบฟังเพลงมาตั้งแต่เด็ก และมาเริ่มชอบเครื่องเสียงตอนโต เว็บไซต์แห่งนี้จึงเป็นเสมือนศูนย์รวมความชอบของผมที่อยากจะแบ่งปันให้กับเพื่อนๆ ที่ชื่นชอบในสิ่งเดียวกัน..
ตัวขันยึดทำด้วยเกลียวโลหะที่ห่อหุ้มภายนอกด้วยพลาสติกแข็งสีดำด้าน ขนาดใหญ่จับขันได้ง่ายเต็มไม้เต็มมือดี ผู้ใช้สามารถเลือกใช้สายลำโพงได้ทั้งแบบซิงเกิ้ล (คู่เดียว) โดยใช้ลิ้งค์จั๊มเปอร์แท่งโลหะที่แถมมาให้เชื่อมโยงสัญญาณระหว่างขั้วต่อคู่บนกับคู่ล่างเข้าด้วยกัน หรือจะถอดแท่งโลหะลิ้งค์ออก แล้วใช้สายลำโพงแบบไบ-ไวร์ฯ เชื่อมต่อก็ได้